
ผลประกอบการกลุ่มแบงค์ออกหมดแล้วนะครับ ทั้งปีกำไรสุทธิลดลง 6.7% ประเด็นหลักใน Q4 รวมถึงทั้งปีคือ เรื่องของการตั้งสำรองหนี้โดยเฉพาะแบงค์ใหญ่ ๆ ขณะที่แบงค์กลาง ๆ ก็ยังทำผลงานกันได้ค่อนข้างดีอยู่ มาดูประเด็นสำคัญ ๆ กันเลยครับ
1) 3 แบงค์ใหญ่ KTB, KBANK, SCB ตั้งสำรองหนี้กันเยอะจนฉุดก ำไร เกิดมาจากบริษัทขนาดใหญ่อย่ างบริษัทถ่านหิน เหล็ก โรงสีข้าว ที่มีปัญหา แต่ต้องบอกว่าบางส่วนตั้งสำรองไ ว้สำหรับมาตรฐานบัญชีใหม่ IFRS9 ด้วย
.
2) แบงค์กลาง ๆ ยังไปได้ดีอยู่อย่าง TISCO, TCAP, BAY โตได้ทั้งรายได้จากดอกเบี้ย และไม่ใช่ดอกเบี้ย แต่เท่าที่สังเกตค่าธรรมเนี ยมจากตลาดหุ้นและกองทุนที่ด ี รวมถึงรายได้ประกันภัยก็เพิ ่มเยอะ
.
3) สินเชื่อเริ่มขยายตัวได้บ้า ง แต่หลัก ๆ เป็นสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ ที่โตตามอุตสาหกรรม สินเชื่อการผลิต พาณิชย์ และก่อสร้าง เริ่มมีมาบ้างแต่ไม่เยอะเท่ าไหร่ ส่วนที่ยังไม่มีทีท่าว่าจะฟ ื้นคือสินเชื่อที่ปล่อยให้ SME
.
4) NIM หลายแบงค์เริ่มลดลงนิดหน่อย ไม่ค่อยเห็นแบงค์ไหนเพิ่มขึ ้น สาเหตุนึงคือมีการให้ลดดอกเ บี้ยเงินกู้เมื่อเดือนพฤษภา คม ขณะที่ดอกเบี้ยเงินฝากก็ค่อ นข้างต่ำอยู่แล้ว เลยไม่สามารถเพิ่ม NIM ให้กว้างได้
.
5) กำไรจากการปริวรรตเงินตรา หรือเรื่องอัตราแลกเปลี่ยน หลายแบงค์กำไรลดลง อาจเป็นไปได้ในเรื่องของค่า เงินบาทที่แข็งค่าขึ้นรวดเร ็ว
.
6) Cost to Income Ratio หรือก็คือ SG&A นั่นแหละ ส่วนมากเพิ่มขึ้นกันหลัก ๆ มาจากค่าพนักงานที่เพิ่มขึ้ น และค่าอาคารสถานที่ มี SCB ที่ใช้จ่ายค่า Digital เยอะ เพราะว่าตามข่าวที่ออกมาจะล ดทั้งสาขาและลดการรับพนักงา นใหม่เข้ามาพอสมควร
…
========================== ========
.
ถ้าเรามาดูเป็นรายธนาคารที่ น่าสนใจมีประเด็นแบบนี้ครับ
.
1) KBANK ตั้งสำรองหนี้เยอะมาก รายได้ดอกเบี้ยยังดูไม่ค่อย ดี รายได้ประกันลดลง แต่ได้รายได้ค่าธรรมเนียมมา ช่วยไว้
.
2) KTB นี้ตั้งสำรองเป็นอาชีพ ได้ข่าวว่าไตรมาสล่าสุดตั้ง เพราะบริษัทเหล็กรายหนึ่ง แต่ไม่ใช่ว่าถ้าตัดตรงนี้ออ กไปแล้วจะกำไรดีนะ เพราะรายได้ดอกเบี้ยที่เป็น สัดส่วนหลักเติบโตลดลง คงต้องลุ้นให้รัฐบาลใช้จ่าย ให้เยอะกว่านี้มาก ๆ และก็ระวังเรื่อง NPL ให้มากขึ้น
.
3) SCB โดนตั้งสำรองหนี้กดดันเหมือ นกัน และปีนี้รายได้ประกันแม้จะเ ป็นสัดส้วนไม่มากก็ตามแต่ลด ลงเยอะ ยังดีที่ได้รายได้ดอกเบี้ยจ ากรถยนต์เข้ามาช่วยไว้ แต่ SCB ต้องติดตามเรื่อง Cost to Income Ratio ว่าจะเพิ่มมากแค่ไหนด้วยครั บจากการเน้นลงทุนด้าน Digital อย่างมาก
.
4) BBL โตได้ทั้งรายได้ดอกเบี้ยและ ไม่ใช่ดอกเบี้ย ได้รายได้ประกันจากการที่ AIA ขายผ่านแบงค์ และเนื่องจากว่า BBL เน้นลูกค้าธุรกิจรายใหญ่ก็ต ้องติดตามเรื่องการลงทุนภาค เอกชน อย่างเช่น EEC
.
5) BAY โตได้ดีทั้งรายได้ดอกเบี้ยแ ละไม่ใช่ดอกเบี้ยเช่นกัน จะได้จากสินเชื่อรถยนต์ กับบริษัทญี่ปุ่นเยอะหน่อย
.
6) TISCO โตหลัก ๆ จากการับสินเชื่อเพิ่มมาจาก Standard Charter และมีการปรับ mix สินเชื่อไปในทางอเนกประสงค์ อย่างบ้านแลกเงิน สมหวังเงินสั่งได้ มากขึ้น ทำให้ได้ NIM ที่สูงกว่า
.
7) TCAP เติบโตดีเพราะเป็นเจ้าใหญ่ท ี่เน้นเรื่องสินเชื่อเช่าซื ้อรถ แต่มีกำไรพิเศษจากขาย MBK มาเกือบ 400 ล้านบาท เป็นแบงค์ที่เก่งเรื่องลดค่ าใช้จ่าย แต่ต้องระวังว่าครึ่งปีหลัง ปีนี้สิทธิทางภาษีจากการรวม SCIB เข้ามาจะหมดไป
.
8.) TMB รายได้ที่โตมาจากต่อสัญญาปร ะกันกับ FWD แต่รายได้ดอกเบี้ยต้องระวัง ว่า สินเชื่อ SME ลดลง รายย่อยซื้อบ้านเพิ่มขึ้น ซึ่งของ SME จะได้ NIM ที่ลดลง
.
9) LHBANK ดูดีขึ้นรายได้ไม่ใช่ตอกเบี ้ยลดลงก็จริงแต่ดูฟื้น แต่เพราะว่ามีการเพิ่มทุนมา เยอะจาก CTBC กำไรคงต้องทำให้ได้ดีกว่านี ้เยอะ ๆ
..
โดยรวม ๆ ก็ประมาณนี้นะครับ ใครสนใจแนะนำว่าลองไปดูเรื่ องการตั้งสำรองหนี้ไว้ว่าใน อนาคตจะมีเพิ่มหรือเปล่า หรือจะลองบวกกลับเข้าไปดูว่ าถ้าไม่มีค่าตรงนี้ ผลกำไรจากการดำเนินงานจริง ๆ ดีขึ้นหรือแย่ลง ลองพิจารณาดูครับ
..
#สรุปงบกลุ่มธนาคาร #วิตามินหุ้น
Credit รูปจาก Aspen by ThaiQuest